พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีความผูกพันใกล้ชิดกับพระพุทธศาสนาอย่างมาก ด้วยการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาตลอดรัชสมัยของพระองค์ ดังปรากฏในพระราชกรณียกิจนานัปการที่เกี่ยวพันกับพระพุทธศาสนา
“หากไม่มีในหลวง พระพุทธศาสนาก็ตั้งอยู่ไม่ได้” หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ พระเถราจารย์ที่มีข้อวัตรปฏิบัติเคร่งครัด เคยกล่าวถึง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เอาไว้เช่นนั้น เช่นเดียวกับพระอริยสงฆ์อีกหลายรูปที่เคยกล่าวถึงความทรงเป็น“พุทธมามกะ” และทรงเป็น “พุทธศาสนูปถัมภก” ที่นับถือพระพุทธเจ้าเป็นสรณะอย่างเคร่งครัด
สถาบันพระมหากษัตริย์และพระพุทธศาสนาในรัชสมัยของในหลวงรัชกาลที่ ๙ จึงมีความผูกพันกันอย่างอย่างลึกซึ้ง กระทั่งถือเป็นสองสถาบันที่นำมาซึ่งความเข้มแข็ง มั่นคง และความเจริญรุ่งเรืองของชาติ
สมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)
หลวงพ่อวัน อุตฺตโม
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ พระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ)
พระเทพสาครมุนี (หลวงปู่แก้ว สุวณฺณโชโต)
หลวงปู่นำ ชินวโร
หลวงพ่อฤาษีลิงดำ
หลวงพ่ออุตตมะ อุตตมรัมโภ
หลวงพ่อเกษม เขมโก
หลวงปู่แหวน สุจิณโณ
หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ
หลวงปู่สิม พุทธาจาโร
หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล
หลวงปู่ชอบ ฐานสโม
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
.
ครูบาพรหมา พรหมจักโก
ครูบาชัยวงศาพัฒนา
หลวงปู่โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสารเถร)
หลวงปู่ขาว อนาลโย